ทั่วไป

หมวดหลัก
เอกสารหน่วยงาน -> สาธารณสุขมูลฐาน

รหัสเอกสาร
สสม 1-4

ผู้รวบรวมเอกสาร
กนิษฐา รักษ์มณี

ชื่อ
กนิษฐา รักษ์มณี-ประวัติศาสตร์งานสาธารณสุขมูลฐาน-ปีพ.ศ.2520-2550

คำนำ

เอกสารสาธารณสุขมูลฐาน ได้รับมอบเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 จากคุณกนิษฐา รักษ์มณี สสม. รุ่นบุกเบิก  เอกสารชุดนี้ให้คุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์งานสาธารณสุขมูลฐาน การเกิดขึ้นของงานสาธารณสุขมูลฐาน เป็นเอกสารที่รวบรวมขึ้นจากการทำงาน มีทั้งเอกสารตำราทางสาธารณสุข บันทึกส่วนตัว หนังสือ แผ่นพับ ภาพถ่าย ซีดี และวีซีดี เอกสารมีอายุระหว่าง พ.ศ. 2520-2550 จำนวน 48 กล่อง

ห้องภาพ

วีดีโอ/เสียง

วิดีโอ
Get the Flash Player to see this player.
เสียง
Get the Flash Player to see this player.

เอกสาร

อื่นๆ

ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับเอกสาร (Identity statement area)
1.1 สัญลักษณ์หรือรหัสอ้างอิง (Reference code(s))
(11) สสม 1-4
1.2 ชื่อเอกสาร (Title)
สาธารณสุขมูลฐาน
1.3 วัน เดือน ปี ของเอกสาร (Date(s))
พ.ศ. 2520-2550
1.4 ระดับของคำอธิบายเอกสาร (Level of description)

1.5 ขนาดและสื่อของเอกสาร (ปริมาณ จำนวนหรือขนาด) (Extent and medium of the unit ofdescription)
ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับบริบทของเอกสาร (Context area)
2.1 ชื่อผู้ผลิต/รวบรวมเอกสาร (Name of creator(s))
กนิษฐา รักษ์มณี
2.2 ประวัติหน่วยงานหรือประวัติเจ้าของเอกสาร (Administrative / Biographical history)
การสาธารณสุขมูลฐานเกิดจากแนวความคิด 2 ประการคือ 1. การครอบคลุมประชากรในด้านบริการสาธารณสุข 2. การผสมผสานงานบริการด้านต่าง ๆ ตลอดจนความร่วมมือกับงานพัฒนาสังคมด้านอื่น ๆ แนวความคิดเรื่องการสาธารณสุขในประเทศไทยดำเนินการมาเป็นเวลานานแล้ว แต่การบริการของรัฐนั้นมีขอบเขตจำกัด ไม่สามารถจะให้บริการแก่ประชาชนได้อย่างทั่วถึง จึงเกิดความคิดจะขยายบริการให้กว้างขวางให้มากที่สุด จนกระทั่งมีการวางแผนพัฒนาสาธารณสุข ฉบับที่ 4 ขึ้น แนวความคิดนี้มีบทบาทสำคัญในแผนงานที่เรียกว่า “งานสาธารณสุขมูลฐาน” ทั้งนี้ใน พ.ศ. 2524-2525 องค์การอนามัยโลกได้เสนอความคิดว่า หากจะให้ประชากรทุกคนในโลกหรือประชากรในประเทศมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้นแล้ว งานสาธารณสุขจะต้องได้รับการส่งเสริม ให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ประเทศไทยซึ่งเป็นสมาชิกขององค์การอนามัยโลกด้วยก็ได้ยอมรับเป้าหมายดำเนินงานดังกล่าว และเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2521 ได้มีการประชุมเรื่องการสาธารณสุขมูลฐานขึ้นที่เมืองอัลมาอตาประเทศรัสเซีย เกี่ยวกับหลักการว่า สาธารณสุขมูลฐาน เป็นกลวิธีที่เหมาะสมที่จะทำให้ประชากรทุกคนมีสุขภาพอนามัยดีอย่างทั่วถึงได้ ที่ประชุมจึงยอมรับหลักการดังกล่าวตั้งแต่นั้นมา
2.3 ประวัติของเอกสารจดหมายเหตุ (Archival history)

2.4 แหล่งเอกสารหรือหน่วยงานหรือผู้มอบหรือโอนย้ายเอกสาร (Immediate source of acquisition or transfer)
ส่วนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับเนื้อหาและโครงสร้างของเอกสาร (Content and structure area)
3.1 ขอบเขตและเนื้อหาของเอกสาร (Scope and content)

3.2 การประเมินคุณค่า การทำลายและการกำหนดอายุการเก็บเอกสาร (Appraisal destruction and scheduling information)

3.3 การเพิ่มขึ้นของเอกสาร (Accruals)

3.4 ระบบการจัดเรียงเอกสาร (System of arrangement)
จัดเรียงตามเนื้อหาและยุคสมัย
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเกี่ยวกับเงื่อนไขการเข้าถึงและการใช้เอกสาร (Conditions of access and use area)
4.1 เงื่อนไขในการเข้าถึงเอกสาร (Conditions governing access)

4.2 เงื่อนไขการทำสำเนาเอกสาร (Conditions governing reproduction)

4.3 ภาษา/ตัวอักษรของวัสดุจดหมายเหตุ (Language/scripts of material)

4.4 ลักษณะทางกายภาพและทางเทคนิคที่มีผลต่อการใช้เอกสาร (Physical characteristics and technical requirements)

4.5 เครื่องมือช่วยค้น (Finding aids)
ส่วนที่ 5 ข้อมูลเกี่ยวกับวัสดุที่เกี่ยวข้อง (Allied materials area)
5.1 สถานที่เก็บเอกสารต้นฉบับ (Existence and location of originals)

5.2 สถานที่เก็บเอกสารฉบับสำเนา (Existence and location of copies)

5.3 เอกสารที่เกี่ยวข้อง (Related units of description)

5.4 ข้อความเกี่ยวกับการพิมพ์ (Publication note)
ส่วนที่ 6 ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น ๆ หรือส่วนหมายเหตุ (Notes area)
6.1 หมายเหตุ (Notes)
ส่วนที่ 7 ข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมการทำคำอธิบายเอกสาร (Description control area)
7.1 บันทึกของนักจดหมายเหตุ (Archivist's note)

7.2 กฎ ระเบียบหรือแนวปฏิบัติ (Rules or conventions)

7.3 วัน เดือน ปีที่จัดทำคำอธิบายเอกสาร (Date(s) of descriptions)